ขนาดตัวอักษร
A
A
A
ความตัดกันของสี
c
c
c
TH
  • TH
  • EN

Foresight Skills and Literacy: ทักษะและเครื่องมือการมองอนาคต รุ่นที่ 1

หมวดแห่งอนาคต
114

หลักการและเหตุผล
       ความสามารถในการมองอนาคตมีความสำคัญสำหรับผู้บริหารทั้งในภาคธุรกิจและภาครัฐ เพราะช่วยให้สามารถคาดการณ์แนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ทำให้เตรียมตัวรับความเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันท่วงที ช่วยเตรียมพร้อมให้องค์กรสามารถรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นให้เกิดการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดในอนาคต อีกทั้งยังช่วยให้เรามองเห็นโอกาสทางธุรกิจหรือโอกาสในการพัฒนาตนเองจากแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การมองอนาคตช่วยให้เราสามารถระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนเตรียมแผนการจัดการเพื่อรับมือกับความเสี่ยงเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
       สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ ร่วมกับ สถาบันอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นถึงความสำคัญของทักษะการมองอนาคตในการวางแผนเชิงกลยุทธ์สำหรับภาครัฐและเอกชน จึงได้จัดโครงการฝึกอบรม Foresight Skills and Literacy: ทักษะการมองอนาคต ขึ้น

วัตถุประสงค์
หลักสูตรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม

  1. เข้าใจความแตกต่างระหว่าง Foresight กับ Forecasting
  2. สามารถประยุกต์การมองอนาคตในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของหน่วยงานได้
  3. เข้าใจกระบวนการมองอนาคต
  4. สำรวจและทำความเข้าใจเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการมองอนาคต
  5. สามารถออกแบบกระบวนการมองอนาคตที่น่าเชื่อถือได้


เนื้อหาการอบรม
1. แนวคิดเบื้องต้นด้านการมองอนาคต
    o Foresight: นิยามและวิวัฒนาการของปัญญาประดิษฐ์
    o ความแตกต่างระหว่าง Foresight vs. Forecasting
    o Future view
    o Types of alternative futures
    o Level of uncertainty
    o Challenges in Foresight
2. Foresight as a part of strategic planning
    o การมองอนาคตในงานวางแผนเชิงกลยุทธ์
    o Future triangle
    o กรณีศึกษา
3. Strategic Foresight Process
    o Generic Foresight Model
    o Houston’s foresight framework
    o 5 steps in foresight-informed strategy
4. Tool I: Horizon scanning
    o Define the Scope and Objectives
    o Sources Selection
    o Identify Trends and Weak Signals
    o Assess their potential impact
5. Tool II: Driving Forces Analysis
    o Conduct a comprehensive scan
    o Engaging with key stakeholders
    o Classification
    o Uncertainty Assessment
    o Scenario development
6. Tool III: Scenario planning
    o Identify Key Drivers of Change
    o Evaluate critical uncertainty
    o Scenario Matrix
    o Strategic Implications
7. Tool IV: Archetype scenario analysis
    o Archetype Identification
    o Detailed Narratives
    o Impact Assessment
    o Strategic Implications
8. Tool V: Backcasting
    o Define the Desired or Fear Future
    o Current State and Gap Analysis
    o Define intermediate goals
    o Identify the specific actions or initiatives
    o Develop Contingency Plans
9. Tool VI: Technology Roadmap
    o Establish Technology Goals, Objectives, timeline and milestones
    o Technology Identification
    o Mapping out the sequence of development and deployment activities
    o Allocate resources to support the action plan

เอกสารดาวน์โหลด :
1727066529579-F6-Foresight Skills and literacy_1-E+V.pdf
Foresight Skills and Literacy: ทักษะและเครื่องมือการมองอนาคต รุ่นที่ 1
ค่าธรรมเนียม :

9,900 บาท

วันที่อบรม :

28 - 29 May 68

ระยะเวลารวม :

12 ชั่วโมง

สถานที่อบรม :

โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร


จำนวนที่เปิดรับ :

40

ระดับเนื้อหา :

ระดับเริ่มต้น (Beginner)

กลุ่มเป้าหมาย :

ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับ Foresight เล็กน้อยหรือไม่มีพื้นฐานมาก่อน และมีความสนใจการมองอนาคต


วิทยากร :
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
Certificate :

มี


ผู้รับผิดชอบโครงการ :

น.ส. จิราวรรณ์ ทศไกร

เบอร์โทรศัพท์ :

083-642-4228, 02-613-3820 (ต่อ302)

อีเมล :

haohorm5901@gmail.com